สาระเรื่องอาหาร

ภาวะเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์

อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์

อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์ แนวทาง การรับประทานอาหาร สำหรับหญิงที่มีเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ก่อนอื่นมารู้จัก กันก่อนว่า เบาหวานขณะตั้งครรภ์คืออะไร และมีความสำคัญอย่างไร โรคเบาหวานมีผลกระทบต่อทั้งแม่ และทารก อย่างมาก เช่น เพิ่มอัตราเสี่ยงของภาวะครรภ์เป็นพิษ, เพิ่มความเสี่ยงการแท้งบุตร, เพิ่มความเสี่ยงการเสียชีวิตของมารดา, ทารกพิการแต่กำเนิด ซึ่งการจะควบคุมเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือผลเสียแก่มารดา และทารก ปัจจัยหลักมาจากการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และยา สำหรับในส่วนนี้ ขอแนะนำในเรื่องของอาหาร ที่มีส่วนช่วย สำหรับคุณแม่ ตั้งครรภ์ ให้ไม่มีภาวะ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ กัน ใครมีความเสี่ยงที่จะมีอาการ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ สำหรับคุณแม่ที่มีความเสี่ยง โดยมากจะมีอาการดังนี้ร่วมด้วย คุณแม่ที่มีอายุ มากกว่า 35 ปีขึ้นไป มีประวัติที่คนในครอบครัวเป็นเบาหวาน มีภาวะความดันโลหิตสูง มีระดับไขมันในเลือดสูง เคยมีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เคยคลอดบุตรที่น้ำหนักแรกเกิดมากกว่า 4.5 กิโลขึ้นไป คุณแม่ที่มีดัชนีมวลกาย มากกว่า 30 ลองทดสอบคำนวน BMI ของคุณได้ที่นี่ ^^ อาหารที่แนะนำสำหรับคุณแม่ …

อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์ Read More »

วิตามินเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

วิตามิน เสริมภูมิคุ้มกัน ร่างกายพร้อมสู้โรค Immune Booster Q 7 natchanok_clinic วิตามิน Immune Booster เสริมภูมิคุ้มกัน ร่างกายพร้อมสู้โรค เพียงวันละ 80 บาทเท่านั้น วิตามิน “Immune Booster” คือ วิตามินเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับร่างกาย ช่วยในการปกป้องและซ่อมแซมเซลล์ เสริม สร้างภูมิต้านทานโรค ช่วยให้ผิวพรรณมีสุขภาพดี ลดภาวะ เสี่ยงโรคข้ออักเสบ ซึ่งวิตามิน Immune booster สูตรของ ทางณัชชนก คลินิก มีลักษณะเป็นเม็ดแคปซล ทานวันละ 1 ซอง วิตามิน “Immune Booster” คือ วิตามินเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับร่างกาย ช่วยในการปกป้องและซ่อมแซมเซลล์ เสริม สร้างภูมิต้านทานโรค ช่วยให้ผิวพรรณมีสุขภาพดี ลดภาวะ เสียงโรคข้ออักเสบ ซึ่งวิตามิน Immune booster สูตรของ ทางณัชชนก …

วิตามินเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน Read More »

อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ 4-6 เดือน

อาหาร คุณแม่ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 (ช่วง 4-6 เดือน)

ในช่วงนี้คุณแม่ตั้งครรภ์ที่แพ้ท้อง อาการก็จะค่อยๆดีขึ้น เซลล์ในร่างกายลูกน้อย จะเริ่มขยายขนาด อวัยวะต่างๆ ของลูกน้อยจะขยายขนาดขึ้น ลูกเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายได้ ส่วนสมองก็เป็นช่วงที่พัฒนาการมากขึ้นในช่วงไตรมาแรกถึง 4 เท่าสามารถทานอะไรได้ดีขึ้นกว่าเดิม แต่ก็ยังคงต้องเลือกรับประทานอาหาร ที่เป็นประโยชน์ให้กับลูกในครรภ์เหมือนเดิม อาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์ควรเน้นทานในช่วงไตรมาสนี้ คือ อาหารจำพวกโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต และอาหารที่มีธาตุเหล็ก ธาตุเหล็ก ได้แก่ เนื้อหมู ไก่ ตับ ปลาทูน่า กุ้ง ไข่แดง งาดำ หรือ ผักใบเขียว นอกจากนี้ควรได้รับวิตามินซีควบคู่กันไป เพราะวิตามินซีมีส่วนช่วยเพิ่มการดูดซึมของธาตุเหล็กให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น    – วิตามินซี ได้แก่  ผลไม้รสเปรี้ยว ส้ม มะนาว กีวี ฝรั่ง    – ไอโอดีนได้แก่ อาหารทะเล เกลือที่มีส่วนผสมของไอโอดีนช่วงตั้งครรภ์ต่อมไทรอยด์ทำงานมากขึ้น ร่างกายจึงต้องการอาหารมากขึ้น เพื่อป้องกันโรคคอหอยพอก เพราะสำหรับทารกแล้วหากได้รับไอโอดีนไม่เพียงพออาจจะทำให้สติปัญญาบกพร่องได้ อาหารสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ ไตรมาสที่ 2 ช่วง 4-6 เดือน อาหารสดใหม่  เมนูอาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ควรทำจากวัตถุดิบธรรมชาติ หรือที่ใกล้เคียงธรรมชาติให้มากที่สุด …

อาหาร คุณแม่ตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 (ช่วง 4-6 เดือน) Read More »

อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคตับอักเสบ

อาหารสำหรับ ผู้ป่วย โรคตับอักเสบ Hepatitis

โรคตับอักเสบ เกิดได้อย่างไร สาเหตุ การเกิดโรคตับอักเสบ เกิดได้จากเชื้อไวรัสต่างๆ ชนิด A , B , C , Non A , Non B ,D ,E อาการของโรคตับ เชื้อไวรัส จะทำอันตรายเซลของตับ ทำให้เกิดอาการอักเสบ หากโรคไม่รุนแรง เซลของตับ ไม่ตายก็จะสามารถฟื้นตัวได้ เรียกว่า ตับมีความสามารถในการฟื้นตัว (แต่ที่ถูกต้องคือได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันท่วงที ) มีบางรายมีอาการของโรคที่รุนแรง ทำให้เซลของตับ ไม่สามารถฟื้นตัวได้ กรณีนี้จะทำให้เกิดอาการตับล้มเหลว (เพราะทำหน้าที่ตามปกติไม่ได้) ผู้ป่วยอาจจะถึงแก่ชีวิตได้ อาการของผู้ป่วยโรคตับอักเสบ ผู้ป่วยจะมีอาการเบื่ออาหาร ทำให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ หรือการเบื่ออาหาร หรือได้รับสารอาหารไม่พอ และน้ำหนักตัวจะลดลงอย่างรววเร็ว เพราะรับประทานอาหารไม่ได้ และพลังงานที่รับเข้าไปไม่พอกับการใช้งาน  การรักษา ผู้ป่วยโรคตับอักเสบ สำคัญอย่างยิ่ง หากออกแรง เช่น ทำงานหนัก หรือออกกำลังกาย จะทำให้โรคทวีความรุนแรง และระยะเวลาการเจ็บป่วยก็จะยืดออกไป ไม่ควรออกกำลังกาย …

อาหารสำหรับ ผู้ป่วย โรคตับอักเสบ Hepatitis Read More »

อาหารสำหรับ หญิงตั้งครรภ์

อาหารสำหรับ หญิงตั้งครรภ์ ช่วง 1-3 เดือน มีอะไรบ้าง

อาหารสำหรับ หญิงตั้งครรภ์  ช่วง 1-3 เดือน  ในช่วงไตรมาสแรกนี้อาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว หิว และง่วงนอนบ่อย แต่ละคนอาจมีอาการที่ต่างกันไป บางคนอาจไม่มีอาการใดๆ บางคนอาจมีอาการแพ้ท้องอย่างหนักถือเป็นเรื่องปกติ การรักษาสุขภาพให้แข็งแรงจึงสำคัญและรับประทานอาหารอย่างสมดุลเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อทั้งตัวคุณแม่และทารกในครรภ์ด้วย  สำหรับอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์ ในช่วง 1 – 3 เดือนควรจะได้รับ  โปรตีนได้แก่ ไข่ เนื้อปลา เนื้อหมู เนื้อไก่ นมถั่วเหลือง งา แคลเซียม ได่แก่  นมสด กุ้งฝอย ปลากรอบ งา ไข่   อัลมอนด์ โยเกิร์ต  กรดโฟลิก ได้แก่ ผักใบเขียว บล็อกโคลี่ ผักโขม ผลไม้ ถั่ว ธัญพืช ตับหมู ขนมปังโฮลวีท แต่ควร รับประทานสดๆ หรือไม่ปรุงนานเกินไป เพราะกรดโฟลิกจะสลายตัวเมื่อถูกความร้อนสูง กรดไขมัน DHA โอเมก้า 3 ได้แก่  …

อาหารสำหรับ หญิงตั้งครรภ์ ช่วง 1-3 เดือน มีอะไรบ้าง Read More »

อาหาร ผู้ป่วย ไทรอยด์ เป็นพิษ

อาหารที่เหมาะสำหรับ ผู้ป่วย ไทรอยด์ เป็นพิษ

ผู้ป่วย ไทรอยด์ เป็นพิษ อาการ คอพอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น วิตกกังวล ขี้ร้อน เหงื่อออกมากกว่าปกติ ผมร่วง กินจุ แต่ผอมลง ตาโปน ในผุ้หญิงประจำเดือน จะน้อยลง หรือขาดไป อาการเหล่านี้ จะเป็นอาการที่พบเห็นได้ใน ผู้ป่วย ไทรอยด์ เป็นพิษ  อาการ ไทรอยด์ เป็นพิษ หรือเด็กที่ขาดฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ จะปัญญาอ่อน รูปร่างแคระแกรน หรือที่เรียกว่าโรคเอ๋อ อาการอันตรายผู้ป่วย ไทรอยด์ เป็นพิษ ที่ต้องรีบพบแพทย์ คือผู้ป่วยจะมีอาการเหนื่อยมาก จนนอนไม่ได้ กระสับกระส่าย คลุ้มคลั่ง หรือเซื่องซึม ปัสสาวะน้อย หรือมีไข้ และไม่ปัสสาวะมากกว่า 6 ชั่วโมง ในช่วงแรกที่เป็น ควรงด การออกกำลังกาย เลี่ยงอาหาร จำพวก ชา กาแฟ แอลกอฮอร์ ยาลดอาการคัดจมูก และยาขยายหลอดลม เนื่องจากมีการกระตุ้นหัวใจมาก อาหารที่ห้ามรับประทาน …

อาหารที่เหมาะสำหรับ ผู้ป่วย ไทรอยด์ เป็นพิษ Read More »

กินอย่างไร ไม่อ้วน ไม่มีโรค

กินอย่างไรไม่อ้วน และไม่มีโรค

สิ่งสำคัญที่เราต้องรู้ในการทานอาหารให้ไม่อ้วน หรือ กินอย่างไรไม่อ้วน และ ไม่มีโรค คือเราต้องเรียนรู้วิธีการกินให้เกิดความสมดุลกับร่างกาย โดยที่ยังสามารถกินอาหารให้อร่อยได้ และไม่เกิดผลเสียต่อสุขภาพ การกินแบบทางสายกลางจ ะช่วยให้เรายืดหยุ่นในการกินได้ และสามารถห่างไกลจากโรคเรื้อรังต่างๆได้อีกด้วย สาเหตุหลัก และปัจจัยหลักของการเกิดโรคเรื้อรังแบบไม่ติดต่อ ส่วนมากเกิดจากสาเหตุดังนี้ การรับประทานอาหารนิสัยของการบริโภคที่รับประทานอาหารไม่มีคุณภาพ  ขาดการออกกำลังกาย สูบบุหรี่ขึ้นหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือกินเหล้า  นอนดึกหรือนอนน้อย  สาเหตุเหล่านี้มักทำให้เกิดโรคต่างๆตามมาเช่นโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคระดับไขมันในเลือดปกติทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนกลายเป็นโรคอ้วนได้ การสร้างพฤติกรรมการกินที่ดี เลือกเนื้อสัตว์ไม่ติดหนังไม่ติดมันทานเนื้อปลาเต้าหู้และนมถั่วเหลืองไม่เติมน้ำตาลให้มากขึ้น ทานผักและผลไม้รวมกันให้ได้วันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัม เลือกทานอาหารจำพวกธัญพืชไม่ขัดสีเช่นข้าวกล้องข้าวซ้อมมือลูกเดือยถั่วต่างๆทุกวัน ดื่มน้ำสะอาดให้ได้อย่างน้อยวันละ 8-10 แก้วหรือประมาณ 2 ถึง 2. 5 ลิตร เลือกทานอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและไขมันทรานส์ต่ำ โดยลดอาหารติดมันอาหารทอดกรอบกะทิคุกกี้พายพิซซ่าซึ่งเพิ่มทั้งน้ำหนักตัวและคอเลสเตอรอลทำให้เกิดอาการเสี่ยงโรคหัวใจและเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน  ลดหรืองดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ลดอาหารหวานมันเค็ม เพิ่มการออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ

ปรับเปลี่ยนการกินสักนิด #พิชิตโรคอ้วนลงพุง

แนะนำเรื่อง ปรับเปลี่ยนการกินสักนิด #พิชิตโรคอ้วนลงพุง ภาวะอ้วนลงพุง กำลังเป็นปัญหาที่คุกคามคนไทยในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เกิดจากพฤติกรรมการชอบรับประทานอาหารที่มากเกินความจำเป็น โดยเฉพาะอาหารหวาน มัน ขนมขบเคี้ยว และน้ำหวานชนิดต่างๆ นอกจากจะทำให้เกิดภาวะอ้วนลงพุงแล้ว ยังเสี่ยงเกิดโรคอ้วน และอีกหลายโรคที่จะตามมา

กินอย่างไรห่างไกล......โรคหัวใจและหลอดเลือด

กินอย่างไรห่างไกล………………โรคหัวใจและหลอดเลือด

โรคหัวใจแลละหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆของประเทศไทย  โดยกลุ่มโรคนี้เกิดจากหลอดเลือดตีบตันหรทอหลอดเลือดแข็งตัว ซึ่งเกิดจากการสะสมไขมัน โปรตีนและแร่ธาตุในผนังหลอดเลือดจนเกิดการตีบตันและแคบทำให้มีความต้านทานต่อการไหลเวียนเลืด  หลอดเลือดขาดความยืดหยุ่น  เปราะบางมากขึ้นหากเกิดบริเวณเส้นเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจจะทำให้เกิดหัวใจวายเฉียบพลันหรือหัวใจล้มเหลวทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตายและเสียชีวิตได้ 

วัยเรียน

อาหารสำหรับเด็กวัยเรียนวัย 6-12 ปี

อาหารสำหรับเด็กวันเรียน อาหารเด็กวัยเรียนที่มีอายุระหว่าง 6 ถึง 12 ปีในช่วงนี้อัตราการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียนจะช้ากว่าทารกและวัยก่อนเรียนมากและการเติบโตจะเป็นไปอย่างสม่ำเสมอหากมีการขาดสารอาหารในระยะนี้อันตรายจากการขาดสารอาหารจะน้อยกว่าวัยทารกและวัยก่อนเรียนทั้งนี้เพราะมีเด็กวัยก่อนเรียนเติบโตพอที่ร่างกายจะปรับปรุงตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดีกว่าวัยก่อนเรียนปัญหาโภชนาการของเด็กวัยนี้มักเกิดจากความยากจนทำให้ด้วยนะปั่นอาหารที่มีโปรตีนและแคลอรี่ไม่เพียงพอต่อการเติบโตและการทำกิจกรรมต่างๆที่เพิ่มขึ้นจากการศึกษาภาวะโภชนาการของเด็กโดยกองโภชนาการกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขพบว่าเด็กวัยเรียนทั่วประเทศเป็นโรคขาดอาหารขาดโปรตีนและแคลอรีร้อยละ 20 ถึง 30 สาเหตุจากการได้รับอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากไม่ได้กินอาหารกลางวันทำให้ไม่มีสมาธิในการเรียนนอกจากนี้การขาดอาหารยังทำให้ภูมิคุ้มกันโรคลดต่ำลงเจ็บป่วยบ่อยเป็นผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนของเด็กพวกนี้ต่ำลงการจัดอาหารกลางวันในโรงเรียนจะช่วยลดปัญหาเหล่านี้ลงได้